กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย
ศูนย์อำนวยการบรรเทาสาธารณภัย
นายวรัตม์ มาประณีต
ผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการบรรเทาสาธารณภัย

หนังสือสั่งการ
กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกลาง ด่วนที่สุด ที่ มท (กปภก) 0624/ว89 ลงวันที่ 23 พฤษภาคม 2566 สิ่งที่ส่งมาด้วย ประกอบด้วย 1. สรุปข้อมูลการเตรียมความพร้อมของจังหวัด 2. แบบฟอร์มการรายงานการจัดกิจกรรมฯ
หนังสือกองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ ด่วนที่สุดที่ มท (บกปภ)0624/ว 30 และ 31 ลงวันที่ 18 พฤษภาคม 2566
1. กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกลาง ด่วนที่สุด ที่ มท (กปภก) 0624/ว 75 ลว 9 พฤษภาคม 2566 2. กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกลาง ด่วนที่สุด ที่ มท (กปภก) 0624/76 ลว 9 พฤษภาคม 2566
สรุปข้อสั่งการและประเด็นการประชุมกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกลาง เพื่อติดตามสถานการณ์ไฟป่า หมอกควัน และฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM2.5) เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 30 มีนาคม 2566
เรื่อง การป้องกันอันตรายจากอุบัติภัย และผลกระทบจากอากาศร้อนในช่วงประเพณีสงกรานต์ 2566
เรื่อง การสำรวจพื้นที่เสี่ยงขาดแคลนน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค ปี 2566
ติดตามสถานการณ์น้ำ
การประชุม บกปภ.ช. เตรียมการแก้ไขปัญหาภัยแล้ง วันที่ 20 สิงหาคม 2562 โดยมีคณะองคมตรี หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมการประชุม ณ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
โครงการสร้างการรับรู้ การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำของประเทศ ฤดูฝน ปี พ.ศ. 2562 ในวันพุธที่ 12 มิถุนายน 2562 เวลา 08.00 – 12.00 น. ณ ห้องมัฆวานรังสรรค์ ชั้น 3 สโมสรทหารบก ถนนวิภาวดีรังสิต เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ โดยมีนายกรัฐมนตรี (พลเอก ประยุทธ จันทร์โอชา) ให้เกียรติเป็นประธาน ภายในงานมีการเสวนา และนิทรรศการ หัวข้อ “การเตรียมความพร้อมจัดการน้ำหลากปี 2562”
ดาวน์โหลด
การประชุมกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกลาง เพื่อติดตามสถานการณ์และการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยในพื้นที่ลุ่มน้ำชี - มูล ในวันพุธที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๖๖ เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๖.๓๐ น. ณ ห้องประชุมศาลากลางจังหวัดอุบลราชธานี
แผนเผชิญเหตุภัยแล้ง 76 จังหวัด
แผนเผชิญเหตุไฟป่าหมอกควันและฝุ่นละอองขนาดเล็ก ปี 2566
แผนเผชิญเหตุอุทกภัย 76 จังหวัด
สิ่งที่ส่งมาด้วย 1. รายชื่อสถานที่กำจัดขยะมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่เสี่ยงได้รับผลกระทบจาก ปัญหาอุทกภัย 2. Infographic การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับปัญหาการจัดการขยะมูลฝอยในพื้นที่เสี่ยง ต่อการเกิดเหตุอุทกภัย มี 3 Infographic
ผลการสำรวจพื้นที่เสี่ยงขาดแคลนน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค ประจำเดือนพฤษภาคม 2566
แจ้งเตือนเตรียมความพร้อม
กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกลาง (กอปภ.ก.) ได้ติดตามสภาวะอากาศปริมาณฝนสะสม สถานการณ์น้ำท่า และปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ เชิงพื้นที่ ประเทศไทยมีฝนตกหนักถึงหนักมากในบริเวณภาคใต้ ให้เฝ้าระวังดินถล่มและน้ำป่าไหลหลาก คลื่นลมแรง ระหว่างวันที่ 8-10 พฤศจิกายน 2561
หนังสือกองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกลาง ด่วนที่สุด ที่ มท 0624 (บกปภ.ช.)/ว 23 ลงวันที่ 9 ตุลาคม 2561 เรื่อง การเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่ภาคใต้
กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกลาง (กอปภ.ก.) ได้ติดตามสภาวะอากาศ ปริมาณฝนสะสม สถานการณ์น้ำท่า และปัจจัยเสี่ยงเชิงพื้นที่ พบว่าช่วงที่ผ่านมาทุกภาคของประเทศไทยมีฝนตกหนักอย่างต่อเนื่อง หลายพื้นที่เกิดอุทกภัย น้ำป่าไหลหลาก และดินโคลนถล่ม ส่งผลให้ ในช่วงวันที่ 23 - 27 สิงหาคม 2561 ทั่วทุกภาคของประเทศไทยมีฝนตกหนักถึงหนักมาก ทั้งนี้ ปริมาณน้ำในอ่างเก็บน้ำที่มีปริมาณน้ำเก็บกักอยู่ในเกณฑ์มากและการพร่องน้ำในอ่างเก็บน้ำเขื่อนวชิราลงกรณ โดยจะระบายน้ำวันละ 53 ล้าน ลบ.ม. ซึ่งอาจต้องระบายน้ำเพิ่มขึ้นอาจเกิดน้ำล้นตลิ่ง และน้ำท่วมฉับพลัน รวมทั้งคลื่นลมทะเลสูง 2-4 เมตร ชาวเรือและประชาชนที่อาศัยอยู่บริเวณชายฝั่งอาจได้รับผลกระทบจากคลื่นลมแรง
รายงานสถานการณ์สาธารณภัย
จำนวนผู้เข้าชมในหน้านี้ 153983 ครั้ง